












v

v


vv

รายวิชาบังคับ
2011701
seminarI
1(1-0-3)
2011702
seminarII
1(1-0-3)
3000719 Cell &
Molecular Biology
3(3-0-9)
2011828 Dissertation*
แบ่งหน่วยกิตลงจนครบกำหนด ในเวลา
3-5
ปี
2011894 Doc Dissertation
seminar*
ลงในเทอมที่ไม่ลงสัมมนา
รายวิชาที่น่าสนใจ
3001727
Special research project in molecular genetic 3(0-9-3)
3001728
Special research project in molecular biology 3(0-9-3)
3001730
Special topics in molecular genetic research 1(1-0-3)
3001734 Human
& molecular genetics
2(2-0-6)
3001705
General human genetics
2(2-0-6)
3000712
Research instrumentation
2(2-0-6)
การขออนุมัติโครงร่างวิทยานิพนธ์/อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และ
กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ สำหรับนิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต
-
เสนอคณะอนุกรรมการบัณฑิตศึกษาสหสาขาวิชาฯ
พิจารณาให้ความเห็นชอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ (นิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต)
-
เสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในคนและสัตว์ทดลอง
-
เสนอขออนุมัติโครงร่างวิทยานิพนธ์
ฉบับที่แก้ไขตามมติของคณะกรรมการในข้อที่ 1-2 แล้ว
ต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสหสาขาวิชาฯ (ผอ.เป็นผู้นำเสนอ)
ทั้งนี้
ขอให้ส่งโครงร่างวิทยานิพนธ์และสำเนาแบบอนุมัติโครงร่างวิทยานิพนธ์
(เอกสารหมายเลข 1) ให้กรรมการฯ พิจารณาล่วงหน้าก่อนวันประชุม
-
เมื่อได้รับอนุมัติโครงร่างวิทยานิพนธ์จากกรรมการในข้อ 2-3 แล้ว
ให้ส่งแบบเสนอขออนุมัติโครงร่างวิทยานิพนธ์ (ต้นฉบับ)
มาที่บัณฑิตวิทยาลัย
เพื่อให้งานมาตรฐานการศึกษาทำประกาศหัวข้อวิทยานิพนธ์
(ป.เอกต้องได้รับอนุมัติหัวข้อภายใน 3 ปี
การศึกษานับแต่ภาคการศึกษาแรกที่เข้าศึกษา)
-
กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 5 แต่ไม่เกิน 7 ท่าน
(ต้องมีกรรมการจากภายนอก ม. ที่ไม่ใช่ อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
อย่างน้อย 1 ท่าน)
-
เมื่อนิสิตทำวิทยานิพนธ์เสร็จ
ให้ส่งวิทยานิพนธ์ที่ได้รับความเห็นชอบจาก
อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่งานมาตรฐานการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย ชั้น
3 เพื่อตรวจรูปแบบก่อนยื่นคำร้องขอนัดสอบวิทยานิพนธ์อย่างน้อย 1
สัปดาห์
-
ให้นิสิตยื่นคำร้องขอนัดสอบวิทยานิพนธ์ (เอกสารหมายเลข 2)
ที่งานมาตรฐานการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย ก่อนวันสอบอย่างน้อย 2
สัปดาห์ ทั้งนี้ ต้องได้รับความเห็นชอบจาก
อ.ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ด้วย
-
รายละเอียดอื่นๆ
ดังระเบียบจุฬาฯ ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.
2542 ข้อ
27 หน้า 24-27
-
วิธีการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์
-
ส่งรายชื่อคณะกรรมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ ได้ที่หลักสูตรชีวเวชศาสตร์
(น.ส.ขวัญตา ปานรักษา)
-
ส่งหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
วันและเวลา สถานที่ ในการสอบ
โดยระบุด้วยว่าโครงร่างวิทยานิพนธ์ต้องผ่านคณะกรรมการจริยธรรมหรือไม่
(ก่อนสอบ 2 อาทิตย์)
-
นิสิตนำผลสอบพร้อมด้วยโครงร่างวิทยานิพนธ์ให้แก่ทางหลักสูตรฯ
ดำเนินการต่อไป
-
วิธีสอบวิทยานิพนธ์
-
เขียนใบคำร้องขอสอบวิทยานิพนธ์ (ขอใบคำรองได้ที่หลักสูตร)
-
นำไปยื่นได้ที่บัณฑิตวิทยาลัย
หลังจากนั้นทางบัณฑิตวิทยาลัย จะเป็นผู้ดำเนินการให้
เกณฑ์ในการสอบวัดคุณสมบัติ
สำหรับนิสิตระดับดุษฎีบัณฑิต
-
นิสิตต้องสอบวัดคุณสมบัติให้ผ่านภายใน
2
ปีการศึกษา นับแต่ภาคการศึกษาแรกที่เข้าศึกษา
-
มีสิทธิ์สอบได้
2 ครั้ง (หากได้
U2 ครั้ง จะถือว่าพ้นสภาพนิสิต)
-
การสอบวัดคุณสมบัติประกอบด้วย การสอบข้อเขียนและการสอบปากเปล่า
-
กรรมการสอบวัดคุณสมบัติ ประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 3
แต่ไม่เกิน 5 ท่าน
(กรรมการภายนอกไม่เกิน 2 ท่าน)
-
กรรมการสอบวัดคุณสมบัติ ประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 3
แต่ไม่เกิน 5 ท่าน
(กรรมการภายนอกไม่เกิน 2 ท่าน)
-
รายละเอียดอื่น ๆ
ดังระเบียบจุฬาฯ ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2542
ข้อ 26 หน้า 20
วิธีการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying
examination) ชีวเวชศาสตร์
-
นิสิตเชิญผู้ทรงคุณวุฒิโดยคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อเป็นกรรมการสอบ
3-5 ท่าน
-
นิสิตส่งชื่อคณะกรรมการสอบให้แก่หลักสูตรเพื่อทำจดหมายเชิญและทำหนังสือแต่งตั้ง
ก่อนสอบ (ส่งได้ที่
น.ส.ขวัญตา ปานรักษา โทรศัพท์ 01-5506169 e-mail art_khaun@hotmail.com)
-
นิสิตลงทะเบียนสอบ
-
นิสิตเขียนบทคัดย่อเป็นภาษาอังกฤษ 2
เรื่อง โดยบทคัดย่อประกอบด้วย ชื่อเรื่อง เนื้อหา research
questions, hypothesis,objectives, conceptual framework, and
references. โดยมีความยาวไม่เกิน 3 หน้ากระดาษ และเฉพาะส่วนเนื้อหา
ไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ
-
นิสิตนำส่งบทคัดย่อพร้อมใบตรวจให้แก่คณะกรรมการสอบและเจ้าหน้าที่ของหลักสูตร
(electronic file เพื่อจัดเก็บในประวัติ)
นิสิตนำส่งผลการตรวจให้แก่ผู้อำนวยการหลักสูตร
-
นิสิตนำส่งผลการตรวจให้แก่ผู้อำนวยการหลักสูตร
-
นิสิตสอบผ่านในขั้นตอนนี้ถ้าคณะกรรมการส่วนใหญ่เห็นชอบ
-
ในกรณีที่ผลการสอบผ่าน
นิสิตจะนำบทคัดย่อที่ได้รับเลือกด้วยเสียงส่วนใหญ่เพื่อเขียนเป็น
full proposal สำหรับสอบ qualifying examination
-
ในกรณีที่ผลการสอบผ่านแต่บทคัดย่อได้รับเลือกในจำนวนที่เท่ากัน
ให้นิสิตเลือกเรื่องใดเรื่องหนึ่งเอง
-
ในกรณีที่ผลการสอบไม่ผ่าน
ให้นิสิตเริ่มการสอบใหม่โดยการปรับปรุงบทคัดย่อ
-
นิสิตแจ้งผลการสอบให้แก่คณะกรรมการสอบและนัดหมายเวลาสอบ
oral
qualifying examination
กับคณะกรรมการสอบ และแจ้งให้แก่เจ้าหน้าที่ของหลักสูตร (electronic
file
เพื่อจัดเก็บในประวัติ) ก่อนสอบ 2 อาทิตย์
-
นิสิตเตรียมสอบ
written qualifying examination
โดยนำบทคัดย่อมาเขียนเป็น
full
proposal
ประกอบด้วย
-
ชื่อเรื่อง
-
ชื่อผู้เสนอ
proposal
-
แขนงวิชาของผู้เสนอ
-
รายชื่อคณะกรรมการสอบ
-
บทคัดย่อ
-
บทนำ ประกอบด้วย คำถามและสมมุติฐานของงานวิจัย
นิสิตอธิบายความรู้ที่มีมาก่อน ตั้งคำถามและสมมุติฐาน
และวิเคราะห์ที่มา โดยคำนึงถึง
innovation
และ
impact
ขององค์ความรู้ที่จะเกิดขึ้นถ้าสมมุติฐานได้รับการพิสูจน์
-
วิธีการวิจัยและคาดหวังผลการทดลองประกอบด้วย
วิธีการและขั้นตอนของการวิจัย
นิสิตควรให้หลักการของวิธีการวิจัย
เหตุผลของการเลือกเทคนิคนั้นๆมาใช้ในการศึกษา
วิธีการแปลผลการทดลอง และผลการทดลองที่คาดหวัง
-
Conceptual framework –
สรุป 8.5-8.6 เป็น
flow
chart
-
Discussion –
นิสิตวิเคราะห์ทฤษฎีจากผลการทดลองที่คาดหวังในทางที่เป็นและไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง
ทางแก้ไข และ เนื้อหาอื่นๆเพิ่มเติม
-
สรุป
-
References
-
นิสิตส่งให้คณะกรรมการสอบเพื่อพิจารณาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ก่อนสอบ
oral qualifying examination
-
นิสิตสอบ
oral qualifying examination
โดยคณะกรรมการจะสอบถามทั้งจาก
proposal
และความรู้ทั่วไปในแขนงวิชาของผู้สอบ
-
นิสิตนำใบผลการสอบให้แก่ทางหลักสูตร (น.ส.ขวัญตา
ปานรักษา)
-
ในกรณีที่สอบไม่ผ่านให้ทางคณะกรรมการสอบพิจารณาว่าจะให้สอบใหม่ในขั้นตอนใด
–
บทคัดย่อ
written
หรือ
oral
นิสิตสามารถสอบแก้ตัวได้ 1 ครั้ง
ต้องทำ
seminar
ทุกเทอมหรือปล่าว
ต้องทำ
seminar
ทุกเทอม โดยเทอม
1
และ
2
ของปีแรก จะต้องลง
seminar I & II,
หลังจากปีแรก จะเป็น
desertation seminar
ซึ่งก็คือการนำ
thesis
ตัวเองมา
present
คล้ายๆ กับการ
progress thesis
ตัวเอง
ใช้ภาษาอะไรในการ
present
present
และถามตอบเป็นภาษาอังกฤษ
เลือก
paper
ที่จะ
present
อย่างไร
paper
ที่เลือก ควรมาจาก
journal
ที่มี
impact factor
มากกว่า
10
ตัวอย่างเช่น
Nature, Science, Cell, New England.. etc.
เหตุผลที่กำหนดเช่นนี้ คือ
paper
เหล่านี้ เป็น
paper
ที่มีมาตรฐานสูง และมีหัวข้องานวิจัยที่น่าสนใจ,
มีหลายๆ การทดลองที่เหมาะกับการ
discussion
ในห้อง
seminar
หากคิดว่าหา
paper
ที่เหมาะกับตัวเองไม่ได้ (ที่มี
IF
> 10)
ก็ให้ลองปรึกษากับ อ. ที่ปรึกษาก่อน ว่าเหมาะกับการ
present
หรือไม่
paper
ที่เลือก ไม่จำเป็นต้องสอดคล้องกับหัวข้อวิทยานิพนธ์
เพื่อเป็นการพัฒนาตัวเองให้มีความรู้หลากหลาย (อาจสอดคล้องก็ได้
แต่ขอให้มีอะไร ที่แตกต่างบ้าง)
ต้องเชิญใครบ้าง หรือประกาศอย่างไร
ท่านแรกที่ควรจะเข้า คือ อ. ที่ปรึกษาตัวเอง
เพื่อเป็นผู้ดำเนินการ
seminar
และ
comment
ชี้แนะ จากนั้นอาจเชิญ อ.
ผู้มีความรู้ในหัวข้อสัมมนานั้นๆ (เช่น หาก
seminar
เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า อาจเรียนเชิญ อ. ธีรวัฒน์
เหมะจุฑา เป็นต้น)และอาจเชิญ อ. อภิวัฒน์ เพื่อร่วมฟังได้
โดยควรนัดเวลา อ. ล่วงหน้า นานๆ เนื่องจาก อ. หลายท่าน
ค่อนข้างมีเวลาว่างน้อย
ประกาศโดยการติด
board (A4)
ให้ระบุชื่อนิสิต,
อ. ที่ปรึกษา,
ชั้นปี,
หัวข้อ
seminar,
วันเวลา,
สถานที่ โดยติดหน้าห้อง
seminar
และตามตึกต่างๆ และควรส่ง
mail
บอกนิสิตทุกคน รวมทั้ง
post
ใน
web
board
แห่งนี้ ควรบอกล่วงหน้า อย่างน้อย
1
สัปดาห์ และเช็คห้อง +
LCD
projector
ว่าว่างหรือเปล่า
ห้อง
seminar
อยู่ที่ไหน
ปกติจะสัมมนาห้อง
706
ชั้น
7
อาครแพทยพัฒน์
เครื่อง
LCD+Computer
สามารถติดต่อขอยืมใช้กับ
Ta ที่รับผิดชอบในปีนั้นๆ
ที่ห้องพักนิสิตหลักสูตรสหสาขาวิชาชีวเวชศาสตร์
ห้อง
706
ชั้น
7
อาครแพทยพัฒน์